วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

Fern's park*


*Hi guys,, I'm Fern
Nice to meet you.
These are what I am ,,

♥ Students ID : 5311114095 Eng 03
♥ NSTRU , English major of Education.
♥ R&B , Hip-hop and .. Classical lover
♥ The KOP  [U know what it is*]
♥ Huge fan of  ULTRAMAN 

My only super hero when I was a kid :)

วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555

English camp 2012

Hello OCTOBER ❤ I just remember I did't post about my English camp on 28-29 August 2012 it was my first English camp in Rajabhat university. I have to say it's the most fun camp I've ever had. It been a fabulous experience you shouldn't miss. *~

My beloved friends Eng 03 (*▽≦)
Have you ever seen a shell ? LOL
I'm on a seafood diet. I see food and I eat it.
Our special photographer and my gang 
A day without smiling is a day wasted.

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555

Learning Log ♥


1 June 2012   
- Innovation Education Technology in the global Classroom
- การออกแบบข้อสอบใน word 
8 June 2012
- On the problem and Strategies of Multimedia Technology in English Teaching
15 June 2012 
- สอนการทำ Blog
สอนการเปลี่ยน Template. การตกแต่งสี, การใส่นาฬิกาปฏิทินแทรกวีดีโอเพิ่มบทความเพิ่มชื่อเพื่อนในห้อง
- ใส่วีดีโอการสอนภาษาอังกฤษจาก YouTube 
22 June 2012
- ใส่ Recent posts ใน blog
- ใส่แบบสำรวจ "Do you like my blog?"
29 June 2012
- วราภรณ์ สอนการทำ Head Blog โดยใช้ Photoshop 
6 July 2012
- CAI โดยโปรแกรม Program Adobe Captivate 5  
- เริ่มทำ Story board ใช้กระดาษครึ่ง A4
13 July 2012
ออกแบบหน้าแรก ข้อความต้อนรับเข้าสู่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
- ตั้งวัตถุประสงค์ มีจำนวน  3 ข้อ 
20 July 2012
- ใช้เมาส์ชี้แล้วรูปภาพ / ตัวอักษรปรากฏขึ้นมา
27 July 2012
- ใส่เสียงใน CAI เม้าว์ชี้หูฟังแล้วมีเสียง
- การออกข้อสอบแบบ multiple choice
- ออกจากโปรแกรม 
10 August 2012
การออกข้อสอบแบบ Matching & Fill in the blank
17 August 2012
- การ public, เนื้อหารายงานฉบับสมบูรณ์
14 September 2012
- ใส่ log in เพื่อเข้าสู่บทเรียน
- การ public อีกวิธี

วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

Applying Innovative Spirit to Multimedia Foreign Language Teaching

Multimedia Teaching and the Innovation of Educational Ideas
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษแบบดั้งเดิมนั้นเป็นการถ่ายทอดที่ประกอบด้วยครู นักเรียน ชอล์ก กระดานดำ ใช้เทปในบางกรณี  ต่อมาจึงมีการนำสื่อมัลติมีเดียมาช่วยสอน ครูไม่ยอมรับหลักสูตรที่นำสื่อมัลติมีเดียมาช่วยสอน คือ ประโยชน์ของมัลติมีเดียไม่สามารถใช้กับการร่วมกับกระดานดำ และชอล์ก ดังนั้นครูจึงต้องมีความคิดในการประยุต์ให้เข้ากัน คือ เปลี่ยนความคิด บทบาทหน้าที่ เช่น ถ้าเมื่อก่อนเป็นการจดบันทึกก็อาจจะมีการให้ค้นหาไม่ต้องจด
Exerting the Advantages of Multimedia Teaching and Exploring New Patterns of Language Teaching.
ประโยชน์ของการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียและการตรวจสอบการสอนภาษารูปแบบใหม่ๆ
3.1  ผลกระทบในด้านบวกของการใช้สื่อมัลติมีเดียในการสอนภาษาต่างประเทศ
1.     PPT  (power point) ใช้เป็นสื่อมัลติมีเดียในการสอนที่สามรถเพิ่มข้อมูล เสียง และสามรถบันทึกข้อมูลได้จำนวนมากๆ
2.    ปรับปรุงสื่อมัลติมีเดียให้ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเสียง รูปภาพ เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้สอนและนักเรียน
3.    ครูบูรณาการสื่อในการสอนเนื้อหาและข้อมูลที่มีความหลากหลายได้ เช่น ครูสามรถดาวน์โหลด สื่อออนไลน์ต่างๆ หรือโปรแกรมและใช้มันเพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ได้
4.   สื่อมัลติมีเดียสามารถให้ข้อมูลที่ช่วยให้นักเรียนได้คิด เช่น เชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับ เสียง รูปภาพ ความรู้สึกได้ ซึ่งช่วยในการคิดและจำ
5.  สื่อมัลติมีเดียสามารถใช้เป็นสื่อในการสื่อสารกันระหว่างครูและนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน  สื่อสารกันมากขึ้น
3.2 ปัญหาและการแก้ไขปัญหาในการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย
1.     สื่อมัลติมีเดีย ในห้องเรียนที่ใหญ่ๆ ไม่สามารถช่วยทักษะการฟัง พูดได้ บางครั้งเราต้องมีเทคนิคใหม่ๆเข้าช่วย เช่น การสอนฟัง พูด ควรมีโอกาสให้เด็กได้ฟังและพูดจริงๆ
2.    ระดับการสอนกับสื่อมัลติมีเดีย ความแตกต่างเป็นกุญแจหลักที่จะเห็นนักเรียนมีลักษณะเด่นและระดับที่แตกต่างกัน ดังนั้นครูจะต้องใช้ประโยชน์ของการนำข้อมูลจากสื่อนี้มาใช้เพื่อมาเป็นเนื้อหาที่มันชัดเจนและดึงดูดความสนใจ
3.   การสอนและการเรียนรู้ สื่อมัลติมีเดียต้องเป็นวิธีการที่จะเป็นสื่อที่ช่วยครูในการสอน ซึ่งครูเป็นผู้เลือกว่าจะสอนในสถานการณ์อย่างไร มีกิจกรรมอะไรบ้างที่จะทำกันในห้องเรียน
4.   การสอนในห้องเรียนและหลักสูตรในการสอน เมื่อนักเรียนมีระดับและการรับรู้ที่แตกต่างกัน ดังนั้นครูสามารถสอนนักเรียนเพื่อพิสูจน์การวางแผนการเรียนของผู้เรียนได้โดยดูจากงานเดี่ยวหลังจากสอนไปแล้วเสร็จ

วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2555

On the problem and Strategies of Multimedia Technology in English Teaching

ปัญหาและกลยุทธ์ของเทคโนโลยีมัตติมีเดียในการสอนภาษาอังกฤษ

Analysis on necessity of application of multimedia technology to English teaching     วิเคราะห์ประโยชน์
A.    To cultivate students’ interest in study. 
ปลูกฝังความสนใจของนักเรียน ใช้สื่อมัลติมีเดียเรียกความสนใจจากเด็ก ไม่ว่าจะเป็น เสียง, ภาพเคลื่อนไหว, รูปภาพ ช่วยกระตุ้นความสนใจจากเด็กได้
B.     To promote students’ communication capacity. 
ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสาร บูรณาการการเรียนการสอนให้จูงใจเด็กมากขึ้น ให้เด็กทำกิจกรรมในชั้นเรียนมากขึ้น เช่น อภิปรายกลุ่ม จะช่วยให้เด็กได้สื่อสารกัน
C.     To widen students’ knowledge to gain an insightful understanding to western culture. 
ขยายความรู้ของนักเรียนเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งถึงวัฒนะธรรมตะวันตก ปัจจุบันนี้มีสื่อมัลติมีเดียที่หลากหลายที่สามารถให้เด็กเรียนรู้ภาษา รวมถึงเรียนรู้วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
D.    To improve teaching effect. การปรับปรุงผลการสอน ใช้สื่อมัลติมีเดียในการสอน เพื่อเป็นการประหยัดเวลาและสร้างความคิดที่ริเริ่มในการเรียน 

Analysis on problems arising from application of multimedia technology to English teaching    วิเคราะห์ปัญหา          
A.    Major means replaced by the assisting one. 
ความหมายหลักจะถูกแทนที่ คือการที่ครูใช้สื่อมัลตมีเดียมากเกินไป ทำให้ครูและนักเรียนไม่มีปฏิสัมพันธ์
B.     Loss of speaking communication. 
จะสูญเสียการสื่อสารในการพูด เสียงของครูจะถูกแทนที่โดยเสียงของคอมพิวเตอร์
C.     The shrinking of students’ thinking potential. 
ความสามารถในการคิดลดลง คอมพิวเตอร์ไม่สามารถช่วยหรือกระตุ้นให้นักเรียนมีทักษะการคิดได้เท่าครู
D.    Abstract thinking replace by imaginal thinking. 
การคิดแบบนามธรรมจะถูกแทนที่โดยการคิดแบบสมมติ 
Suggestions and strategies to the existing problems     แนวทางการแก้ไข  
A.    The beauty of courseware is not the sole pursuit. 
ไม่ได้ทำแค่บทเรียนที่สวยงามเพียงอย่างเดียว นอกจากจะใช้มัลติมีเดียใช้เป็นสื่อในการเรียน ฟัง พูด อ่าน แล้ว ครูก็ต้องมีบทบาทร่วมด้วย
B.     The computer screen cannot substitute the blackboard.
หน้าจอคอมพิวเตอร์ไม่สามารถแทนที่กระดานดำ
C.     PowerPoint cannot take the place of student’s thinking and practices.
PowerPoint ไม่สามารถฝึกนักเรียนให้คิดและปฎิบัติได้ ซึ่ง PowerPoint ไม่สามรถแทนที่กระดานดำได้ หากเป็นกระดานดำ ครูสามารถแก้ไข อธิบายเพิ่มเติมได้ ในระหว่างการเรียนการสอนเด็กอาจจะมีคำถามที่ไม่คาดคิด ครูก็ช่วยตอบให้ได้ 
D.    Traditional teaching instruments and devices should not be overlooked.
เครื่องมือการเรียนการสอนแบบดังเดิมและอุปกรณ์ไม่ควรมองข้าม สื่อมัลติมีเดียมีประโยชน์ก็จริง แต่ครูก็ไม่ควรละทิ้งเครื่องมือการสอนอื่นๆ เพราะเครื่องมือเหล่านั้น อาจจะยังมีความเหมาะสมแก่เด็กแต่ละคนต่างกันไป
E.     Multimedia technology should not be overused.
เทคโนโลยีมัลติมีเดียไม่ควรมากเกินไป เพราะเด็กอาจจะไม่ตั้งใจเรียนก็ได้ ทำให้เด็กไม่ได้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง

วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Innovation Educational Technology in the Global Classroom


ESOL; English for Speakers of Other Languages
TESOL; Teaching English to Speakers of Other Languages
 *Change your idea, Innovative teaching is grown
ELL; English Language Learners
PDF; Portable Document Format (Adobe Acrobat)
ESL; English as a Second Language
EFL; English as a Foreigner Language
ELT; English Language Teaching
Pre-service Teacher; นักศึกษาที่เรียนครู แต่ยังไม่ได้เป็นครู
In-service Teacher; ครูที่สอนอยู่ในโรงเรีย

โลกเปลี่ยนแปลงอย่างอย่างรวดเร็ว ซึ่งครูต้องรู้จักสร้าง มีความคิดสร้างสรรค์ ตามให้ทันนวัตกรรมต่างๆ ครูจะต้องถูกกระตุ้นให้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ครูจะใช้รูปแบบใหม่ๆ ที่แตกต่างกัน บูรณาการสอน เช่น กรณีศึกษา, portfolios  ซึ่งสามารถใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยเช่น  online discussion, podcast, blogs and wiki.




วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Synchronous tools & Asynchronous tools


โดยการแบ่งรูปแบบการเรียนรู้นั้นเราสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบใหญ่ ได้แก่ 
1. แบบ Live (หรือที่เรียกว่า Synchronous Learning) ก็คือว่า กิจกรรมเรียนรู้ที่เกิดจากทั้ง 2 ฝั่ง (ฝั่งคนสอนกับฝั่งคนเรียน) จะต้องถูกดำเนินการ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปพร้อม ๆ กัน ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจนก็คือการจัดการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม (Face to Face Classroom) ที่เราจะเห็นว่ากิจกรรมการเรียนรู้จะเกิดขึ้นในห้องเรียน ซึ่งต้องมีการกำหนดเรื่องของตารางเรียน หรือเวลาเรียน ที่ให้ทั้งคนสอนกับคนเรียนได้มีโอกาสมาเจอกัน ดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน โดยในรูปแบบแบบนี้ผู้สอนมักจะทำหน้าที่ของ คนสอนอย่างเต็มรูปแบบ
2. แบบ On Demand (หรือที่เรียกว่า Asynchronous Learning) ซึ่งเป็นแบบที่ตรงข้ามกับแบบแรกอย่างสิ้นเชิง โดยที่เราไม่ต้องมีการกำหนดเวลาที่แน่นอน ที่ให้ผู้เรียนหรือผู้สอนมาเจอกัน คนเรียนสามารถเลือกเวลาที่สะดวก หรือสามารถเลือกได้ว่าต้องการจะเข้าไปเรียนรู้ในเนื้อหานั้นเมื่อไหร่ อาจจะเข้าไปค้นหาข้อมูล หรือเลือกเรียนเฉพาะหัวข้อที่ตัวเองสนใจ หรือเข้าไปหาเฉพาะข้อมูลเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาในการทำงานก็ได้
Reference
http://thomard.blogspot.com/2012/08/asynchronous-and-synchronous-tool.html